เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา2/2557 Topic:"จักรวาลความรัก"

เป้าหมาย(Understanding Goal) :นักเรียนมีความเข้าใจในระบบสุริยะจักรวาล เห็นความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกรวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของทุกสรรพสิ่งบนโลกและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้เช่น การปฏิบัติตนเมื่อเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ การวางแผนการใช้ชีวิตตลอดจนการสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม

วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)







Big Questions : - มนุษย์เกี่ยวข้องกับโลกและระบบสุริยะจักรวาลอย่างไร
                         
ภูมิหลังของปัญหา


หลายคนคงเคยได้ยินข่าวเมื่อหลายล้านปีก่อนมีอุกกาบาตพุ่งชนโลกจนทำให้สิ่งมีชีวิตหลายอย่างสูญพันธุ์เช่น  ไดโนเสาร์  แมมมอธ  ฯลฯ  ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนานมามากจนเราคิดว่าเป็นแค่ตำนานแต่ใครจะคิดว่าเมื่อปีที่ผ่านมาเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556  ได้เกิดเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลกอีกครั้งที่ประเทศรัสเซียทำให้ผู้คนบาดเจ็บเป็นจำนวนมากและอาคารบ้านเรือนเสียหายหลายพันหลังซึ่งเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้เรารู้ว่าไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไปและเหตุการณ์นี้อาจจะส่งลกระทบทำให้เกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบนโลกของเราเช่น แผ่นดินไหว น้ำท่วม สึนามิ ภาวะโลกร้อน พายุใต้ฝุ่น ฯลฯ ซึ่งถ้าหากนักเรียนรู้เท่าทันและเข้าใจก็จะปรับเปลี่ยนวิถีการดำดงชีวิตของตนเองให้สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้


ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ PBL ( Problem Based Learning )

Topic : “ระบบสุริยะจักรวาล” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557


Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
1

โจทย์ วางแผนหน่วยการเรียนรู้
คำถาม
- นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Think Pair Share ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Blackboard Share สิ่งที่รู้แล้วและคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คลิปกำเนิดสุริยะจักรวาล ตอนที่1

กิจกรรม
- ดูคลิปกำเนิดสุริยะจักรวาล ตอนที่1
- การสร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้เกิดความอยากเรียนรู้
- สำรวจหัวข้อที่นักเรียนสนใจ
- ระดมความคิดตั้งชื่อโครงงานร่วมกันผ่านเครื่องมือการคิด Think Pair Share
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ระดมความคิดทำMind Mapping ก่อนการเรียนรู้
- แยกกลุ่มคิดวางแผนสร้างปฏิทิน
- นำเสนอปฏิทินของกลุ่ม
- วางแผนปฏิทินการเรียนรู้ร่วมกัน
- สร้างปฏิทินการเรียนรู้
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
- วาดภาพตกแต่งชื่อโครงงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับชื่อน่วยการเรียนรู้
- วาดภาพตกแต่งหัวข้อหน่วยการเรียนรู้และชาร์ตสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้
ความรู้
ความสัมพันธ์ของการกำเนิดสิ่งต่างๆบนโลกและระบบสุริยะจักรวาล
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- ถ่ายทอดสิ่งที่ได้ดู และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้
- เห็นความสำคัญและความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงระหว่างสิ่งต่างๆ กับตัวเอง
2. ทักษะการแก้ปัญหา โดย
สามารถคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ชิ้นงานได้
3. ทักษะการแสวงหาความรู้ โดยสอบถามข้อมูลจากผู้รู้หรือผู้ปกครอง
4. ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยนักเรียนแสดงความสนใจและสนุกกับการเรียนรู้
5. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
6.ทักษะการสื่อสารอธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
3. เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
4. สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
5. การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทาง



Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
2-3

โจทย์ การกำเนิดของระบบสุริยะจักรวาล
คำถาม
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาลเกิดขึ้นได้อย่างไร
ดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาลมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เครื่องมือคิด
 Blackboard  Share องค์ประกอบของระบบสุริยะจักรวาล, การกำเนิดของดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
และความสัมพันธ์ของดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
- Brainstorm ระดมความคิดเกี่ยวกับการกำเนิดจักรวาล ดวงดาว
สื่อ/อุปกรณ์
- ห้องสมุด
- อินเตอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน

กิจกรรม
- ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆละ 2-3 ครูเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของระบบสุริยะจักรวาล(ผ่านเครื่องมือคิด Jigsaw)
- ดวงอาทิตย์
- ดวงจันทร์
- โลก
- ดาวอังคาร
- ดาวพุธ
- ดาวพฤหัสบดี
- ดาวศุกร์
- ดาวเสาร์
- ดาวยูเรนัส
- ดาวเนปจูน
- สรุปความเข้าใจเป็นแผ่นชาร์ต
- นำเสนอแลกเปลี่ยนกัน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สร้างโมเดลระบบสุริยะจักรวาล
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล
- โมเดลระบบสุริยะจักรวาล
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ระดมความคิดเกี่ยวกับการกำเนิดจักรวาล ดวงดาว
- ค้นคว้าเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล
- นำเสนอชิ้นงาน
ความรู้
การกำเนิดของระบบสุริยะจักรวาลและลักษณะของดาวเคราะห์แต่ละดวง
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
2. ทักษะการแก้ปัญหา
วิธีการทำงานเป็นทีม ให้งานประสบความสำเร็จบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. ทักษะการจัดลำดับข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4. ทักษะการคิดและการเรียนรู้ โดยมีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
5. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
6. ทักษะการสื่อสาร
-การแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
3. เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
4. สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
5. การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทาง


Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
4

โจทย์  ทำโมเดลระบบสุริยะจักรวาล
คำถาม
- ระบบสุริยะจักรวาลมีลักษณะอย่างไร  โลกของเราอยู่ส่วนไหนของระบบสุริยะจักรวาล
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับการวางแผนออกแบบสร้างโมเดลระบบสุริยะจักรวาล
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
ภาพสุริยะจักรวาล
บรรยากาศภายในห้องเรียน
กิจกรรม
ดูคลิปกำเนิดสุริยะจักรวาล
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาดาวเคราะห์ 
ดาวฤกษ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนออกแบบสร้างแบบจำลองระบบสุริยะจักรวาลและสร้างแบบโมเดลระบบสุริยะจักรวาล
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
ทำโมเดลระบบสุริยะจักรวาล
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนออกแบบสร้างแบบจำลองระบบสุริยะจักรวาล

ความรู้
นักเรียนเข้าใจการกำเนิดของระบบสุริยะจักรวาลและลักษณะของดาวเคราะห์แต่ละดวงผ่านการทำโมเดล
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนเลือกอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับตนเองและรับผิดชอบต่อการทำชิ้นงานของตนเอง
- สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
- สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- สามารถมองเห็นข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับอุปกรณ์แต่ละชนิด
2. ทักษะการแก้ปัญหา
สามารถแก้ไขปัญหาระหว่างการทำผ้าพันคอของตนเองได้
3. ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
อย่างเป็นระบบ
4. ทักษะการคิดและการเรียนรู้ โดยมีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
5. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
6. ทักษะการสื่อสาร
-การแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
3. เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
4. สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
5. การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทาง


Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
5

โจทย์  ดวงดาวกับมนุษย์
คำถาม
- การโคจรของดวงดาวมีความสัมพันธ์ต่อชีวิตมนุษย์อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับการความสัมพันธ์ของดวงดาวมีผลต่อชีวิตมนุษย์
- Blackboard Share กระบวนการดูดาว
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- นิทานสอนหนูดูดาว
- แผนที่ดูดาว

กิจกรรม
- ครูเปิดคลิปวีดีโอเปิดตำนานกลุ่มดาว” ให้นักเรียนดู และร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- นักเรียนวาดภาพดวงดาวตามจินตนาการของตนเอง
- นักเรียนศึกษาจักรราศีของตนเองตามวันเกิดตามแหล่งเรียนต่างๆ
- สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับจักรราศีทั้ง 12 ราศี
- ทำแผนที่ดูดาว และศึกษาวิธีการใช้จากคลิปวีดีโอ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
- วาดภาพดวงดาวตามจินตนาการ
- Mind Mappingเกี่ยวกับจักรราศี
- แผนที่ดูดาว
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
นักเรียนระดมความคิดเสนอแนะและอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างดวงดาวกับชีวิตมนุษย์


ความรู้
ลักษณะของกลุ่มดาวต่างๆ
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- สามารถอธิบายการใช้อุปกรณ์ในการทำแผนที่ดูดาว
- สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
- สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- สามารถมองเห็นข้อดี ข้อเสีย
จากมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับอุปกรณ์แต่ละชนิด
2. ทักษะการแก้ปัญหาสามารถ แก้ไขปัญหาระหว่างการทำแผนที่ดูดาว
3. ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
อย่างเป็นระบบ
4. ทักษะการคิดและการเรียนรู้
โดยมีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
5. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลาย
6. ทักษะการสื่อสาร
-การแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
3. เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
4. สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
5. การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทาง

Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
6

โจทย์  การเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
คำถาม
- นักเรียนจะมีวิธีใดเพื่อจะทราบถึงการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติและถ้าหากไม่เกิดขึ้นจะมีวิธีรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- อินเตอร์เน็ต
กิจกรรม
- ชมคลิปวีดีโอ “การเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับการเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
เช่นการเกิดสุริยุปราคาจันทรุปราคา กลางวัน-กลางคืน ข้างขึ้นข้างแรม และฤดูกาล
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
- สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติในรูปแบบต่างๆ เช่นนิทาน ชาร์ตความรู้ แผ่นพับ และอื่นๆ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ
- นักเรียนร่วมค้นหาข้อมูล และนำเสนอข้อมูลตามความเข้าใจ
ความรู้
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่างๆ และสามารถเรียนรู้เพื่ออยู่ได้ในเหตุการณ์ต่างๆอย่างเท่าทันได้
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องาน
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
- สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- สามารถมองเห็นข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษา
2. ทักษะการแก้ปัญหา
วิธีการทำงานเป็นทีม ให้งานประสบความสำเร็จบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. ทักษะการจัดลำดับข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4. ทักษะการคิดและการเรียนรู้ โดยมีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
5. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
6. ทักษะการสื่อสาร
-การแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
3. เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
4. สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
5. การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทาง

Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
7

โจทย์  แรงและการเคลื่อนที่
คำถาม
- แรงที่มาจากลมทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้อย่างไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง
- แรงที่มาจากน้ำทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้อย่างไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง
- แรงโน้มถ่วงคืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง
- แรงที่เกิดจากร่างกายทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้อย่างไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง
- แรงที่เกิดจากเครื่องจักรกลทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้อย่างไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับการทดลอง เรื่องแรงและการเคลื่อน
- Blackboard Share สรุปผลการทดลอง
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง

กิจกรรม
- นักเรียนทำการทดลองแรงและการเคลื่อนที่ในรูปแบบต่างๆ เช่น แรงลม แรงน้ำ แรงโน้มถ่วง แรงคน และแรงเครื่องจักร
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นหลังจากการทดลองเสร็จเพื่อสรุปความเข้าใจร่วมกัน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สรุปผลการทดลอง
- สรุปแรงและการเคลื่อนที่ เป็น Mind Mapping
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ทำการทดลองแรงและการเคลื่อนที่ในรูปแบบต่างๆ เช่น แรงลม แรงน้ำ แรงโน้มถ่วง แรงคน และแรงเครื่องจักร
- ร่วมแสดงความคิดเห็นหลังจากการทดลองเสร็จเพื่อสรุปความเข้าใจร่วมกัน
ความรู้
สามารถอธิบายแรงที่เกิดจากธรรมชาติ จากกล้ามเนื้อ และจากเครื่องจักรกลได้ จากการทดลองด้วยตนเอง
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนเลือกวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการประดิษฐ์ชิ้นงาน
- สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำงาน
- สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- สามารถมองเห็นข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับอุปกรณ์แต่ละชนิด
2. ทักษะการแก้ปัญหา สามารถแก้ไขปัญหาระหว่างการ
ทดลองแรงจากสิ่งต่างๆได้
3. ทักษะการจัดลำดับข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4. ทักษะการคิดและการเรียนรู้
โดยมีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
5. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่างของเพื่อนๆ
6.ทักษะการสื่อสาร
สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
3. เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
4. สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
5. การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทาง


Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
8

โจทย์  นักดาราศาสตร์ และดวงดาวอนาคต
คำถาม
- นักดาราสตร์มีความสำคัญต่อระบบสุริยะจักรวาลอย่างไรบ้าง 
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับอนาคตของระบบสุริยะจักรวาล
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- ห้องสมุด
- อินเตอร์เน็ต
- ภาพ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กิจกรรม
- ครูให้นักเรียนดูภาพ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และนักวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์
- นักเรียนศึกษาค้นคว้าประวัติความสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุริยะจักรวาล
- นักเรียนทำประวัติ
นักวิทยาศาสตร์ของไทยและต่างประเทศ
- นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องดวงดาวในอนาคต
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
- ประวัตินักวิทยาศาสตร์ของไทยและต่างประเทศ
- วาดภาพระบบสุริยะจักรวาลในอนาคต
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประวัติความสำคัญของนักดาราศาสตร์
-  Show and Share นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับเรื่อง
นักดาราศาสตร์และระบบสุริยะจักรวาลในอนาคต
ความรู้
สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับเรื่องนักดาราศาสตร์และระบบสุริยะจักรวาลในอนาคตได้
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- สามารถอธิบายการใช้อุปกรณ์ในการสร้างชิ้นงานได้
- สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
- สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- สามารถมองเห็นข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับอุปกรณ์แต่ละชนิด
2. ทักษะการแก้ปัญหา และสามารถแก้ไขปัญหาระหว่างการทำชิ้นงานได้
3. ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
อย่างเป็นระบบ
4. ทักษะการคิดและการเรียนรู้ โดยมีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
5. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
6.ทักษะการสื่อสาร
สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
3. เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
4. สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
5. การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทาง



Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
9


โจทย์ การถ่ายทอดความเข้าใจสู่ผู้อื่น
คำถาม
- นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจที่เรียนรู้มาสู่ผู้อื่นอย่างไร
- นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปใช้อย่างไรในชีวิตจริงอย่างไรได้บ้าง
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
-Card & Chart   สิ่งที่ดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนา
สื่อ/บรรยากาศ
- ชิ้นงาน
- ครู/นักเรียน/ผู้ปกครอง
กิจกรรม
- เตรียมการนำเสนอเพื่อถ่ายทอด
- นำเสนอ
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ก่อนเรียน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนเป็น Mind Mapping
- ประเมินตนเอง เขียนสิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping หลังเรียน
- สิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็น
- ถ่ายทอดความเข้าใจสู่ผู้อื่น








ความรู้
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- รู้สิ่งที่ตนทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุงพัฒนา
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นำเสนอเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนและจัดลำดับขั้นตอนการสรุปองค์ความรู้หลังเรียนได้
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสมและปลอดภัย
- ทำงานด้วยความตั้งใจอย่างเต็มศักยภาพของตน
2.ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในการทำงาน
มีความสนใจ กระตือรือร้น ตั้งใจ ความอดทนในการทำงานให้สำเร็จลุล่วงตามเวลาที่กำหนด
- มีทักษะในการฟัง พูด ถามและเขียนเกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้หลังเรียน สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้และและการตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
3.ทักษะการคิด
- สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter 3
- มีความเข้าใจต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ในภาพรวมโดยสามารถอธิบายหรือบรรยายได้ว่าตนได้เรียนรู้อะไรบ้าง มีอะไรที่ทำได้ดีแล้วหรือมีอะไรที่ต้องปรับปรุงพัฒนา 6.ทักษะการสื่อสาร
4.ทักษะการแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์แล้วเรียบเรียงข้อมูลที่ได้รับรู้แล้วตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
5.ทักษะการสื่อสาร สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
3. เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
4. สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
5. การคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าลักษณะทาง




ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหัวเรื่องหน่วยการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ

หน่วยการเรียนรู้เรื่อง : ระบบสุริยะจักรวาล” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2/2557

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
สร้างฉันทะ/สร้างแรงบันดาลใจ
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว  
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน
มาตรฐาน 1.2
อธิบายลักษณะของสิ่งที่พบเห็นจากการดูคลิปวีดีโอ และสิ่งต่างๆรอบตัว
(
1.2 .3/1)
มาตรฐาน ว 2.1  
สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  (ว 2.1.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
สำรวจทรัพยากรธรรม
ชาติและอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น(ว 2.2.3/1)
ระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น (ว 2.2.3/2)
อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติอย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ (ว 2.2.3/3)
มาตรฐาน 6.1
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วน ประกอบของอากาศและความสำคัญของอากาศ(6.1 3/1)
มาตรฐาน 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และความสนใจของตนเองได้
( 8.1 .3/1)
วางแผนสร้างกิจกรรมการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามสิ่งที่อยากเรียนรู้
(8.1 .3/2)
มาตรฐาน  ส 2.1  
บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย 
(ส 2.1.3/2)
มาตรฐาน 2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกกลุ่มในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง( 2.2 .3/1)
มาตรฐาน ส 5.1
บอกความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน
(ส5.1 ป3/3)
มาตรฐาน  ส 5.2  
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
(ส 5.2.3/1)

มาตรฐาน 4.2 
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพ แวดล้อมจากอดีตถึงปัจจุบันที่ส่งผลต่อการมองเห็นดวงดาวบนท้องฟ้า ( 4.2 .3/3)
มาตรฐาน  4.2
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนพร้อมกับสรุปและเปรียบเทียบความ สำคัญของขนบธรรม เนียมประเพณีของชุมชนตนเองและชุมชนอื่นๆได้(ส 4.2.3/1-3)


มาตรฐาน 1.1
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.1
เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์( 2.1 .3/1)

มาตรฐาน 1.1
บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
วาดภาพระบายสีสิ่งที่พบเห็นได้( 1.1 .3/6)
วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้น  รูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1/3/6/8)

มาตรฐาน 3.1
จัดรูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กำหนด 
( 3.1 .5/1)
มาตรฐาน 5.1
วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจ และสังคม
( 5.1 .3/3)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
การกำเนิดระบบสุริยะจักรวาล




















มาตรฐาน ว 2.1  
สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  
(ว 2.1.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
สำรวจทรัพยากรธรรม
ชาติและอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
(ว 2.2.3/1)
มาตรฐาน 3.1
จำแนกชนิดและสมบัติของวัตถุที่เป็นส่วนประกอบของดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล ( 3.1.3/1)
มาตรฐาน 3.2
อธิบายประโยชน์ อันตรายที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของวัตถุในอวกาศ (3.2 .3/1,2)
มาตรฐาน 4.1
อธิบายเกี่ยวกับแรงดึงดูดของโลกและวัตถุในระบบสุริยะจักรวาล   ( 4.1 .3/2)
มาตรฐาน 6.1
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วนประกอบของอากาศและความสำคัญของระบบสุริยะจักรวาล
(6.1 .3/2)
ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกต่างของอุณหภูมิ
 (ว 6.1.3/1-3)
มาตรฐาน ว 7.1
- สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย์ 
ดวงจันทร์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกำหนดทิศ
 ( 7.1 .3/1)
มาตรฐาน  ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา (8.1ป.3/1)
วางแผนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง กลุ่ม และสามารถคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบได้
 (8.1ป.3/2)

-  เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจ และบันทึกผล (8.1ป.3/3)
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ตามความเป็นจริง มีภาพประกอบคำอธิบาย (8.1ป.3/4)
- สร้างคำถามใหม่และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องทีค้นคว้า
 (8.1ป.3/5-6)

มาตรฐาน 2.1
เข้าใจบทบาทหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นในการทำกิจกรรม หรือดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับสังคม ตามหลักศาสนาวัฒนธรรมและความเชื่อ
( 2.1 .3/2)
มาตรฐาน ส 5.1
บอกความสัมพันธ์ของลักษณะกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ส 5.1.3/1-3)
อธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการก่อให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์
(ส 5.2.3/3)
อธิบายความแตกต่างของเมืองและชนบท (ส 5.2.3/4)
ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน  (ส 5.2.3/5)


มาตรฐาน 4.2
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
( 4.2 .3/3)
มาตรฐาน 1.1
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวมเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับลักษณะของงาน ทำงานอย่างเป็นระบบขั้นตอน
( 1.1 .3/1/2/3)
มาตรฐาน  ง 2.1
 เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ง 2.1.3/1)
มาตรฐาน 3.1
ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอน นำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆได้
( 3.1 .3/1)


มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/6)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1 /3/6/8)
มาตรฐาน 4.1
เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพโดยการเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมต่อการทำงาน
( 4.1 .3/5)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
( สุริยุปราคา , จันทรุปราคา ,
น้ำขึ้นน้ำลง ข้างขึ้นข้างแรม กลางวันกลางคืน , ฤดูกาลม ,
ฝนดาวตก)













มาตรฐาน 7.1
ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ดวงจันทร์และดวงดาว ( 7.1 .1/1)
- สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกำหนดทิศ
( 7.1 .3/1)
สังเกตและอธิบายการเกิดทิศและปรากฏการณ์การขึ้นตกของดวงดาวโดยใช้แผนที่ดาว ( 7.1 .5/1)
สร้างแบบจำลองและอธิบายการเกิดฤดู ข้างขึ้นข้างแรมสุริยุปราคา จันทรุปราคา และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
( 7.1 .6/1)
มาตรฐาน  8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา
( 8.1.3/1)
วางแผนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง กลุ่ม และสามารถคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบได้
( 8.1.3/2)
เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจ และบันทึกผล
( 8.1.3/3)
มาตรฐาน 1.1
ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิต ข้อคิด จากเรื่องเล่า ได้อย่างเหมาะสม ( 1.1 .3/3)
มาตรฐาน  2.1
สรุปประโยชน์และการปฏิบัติตนตามประเพณีท้อง ความเชื่อเกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาลอย่างงเหมาะสม (2.1.3/1)
มาตรฐาน 2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมต่างๆ
(
2.2 .3 /1)
มาตรฐาน 5.1
บอกความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชนต่อปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นได้  ( 5.1  .3/3)
มาตรฐาน 4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์จากอดีตถึงปัจจุบันได้
( 4.2 .3/1)
มาตรฐาน 1.1
 ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาดและสามารถอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองได้  (1.1 3/3)
มาตรฐาน  2.1
 มีทักษะกระบวนการทำงานและการจัดการ การทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
( 2.1 .3/2/3)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่น่าสน ใจเป็นประโยชน์จากแหล่ง ข้อ มูลต่างๆตรงตามวัตถุประสงค์
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
( 3.1 .5/1/2)
มาตรฐาน 1.1
บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/2)
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/4)
วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
มาตรฐาน 1.1
อธิบายลักษณะการเจริญเติบโตของมนุษย์ที่เชื่อมโยงจากการกำเนิดสิ่งมีชีวิตบนโลก ( 1.1 .3/1)
รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างก่ายได้ ( 1.1 .4/1/2/3)
มาตรฐาน  2.1
อธิบายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและกลุ่มเพื่อน
( 2.1  .3/1/2)
มาตรฐาน  3.1
ควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่การใช้อุปกรณ์อย่างมีทิศทางในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ( 3.1 .3/1)
มาตรฐาน  4.1
รู้และเข้าใจการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การป้องกันโรคจากการมองดูดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่า และโรคที่อาจเกิดจากแสงอาทิตย์         ( 4.1 .6/1)
มาตรฐาน    5.1
ปฏิบัติตนเพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากการเดินทางจากบ้าน โรงเรียน ( 5.1  .3/1)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
ดวงอาทิตย์โลก และดาวเคราะห์
การ
- ลักษะณะของดาวเคราะห์แต่ละดวง
- จำแนกดาวเคราะห์  ดาวกฤษ์


















มาตรฐาน 2.1 
สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.2
สำรวจทรัพยากรธรรมชาติ และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น  (2.2 .3/1)
- ระบุการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น
( 2.2 .3/2)
- อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ 
( 2.2 .3/3)
มาตรฐาน 3.1
จำแนกชนิดและสมบัติของวัตถุที่เป็นส่วนประกอบของดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาล  ( 3.1 .3/1)
มาตรฐาน 3.2
อธิบายประโยชน์ อันตรายที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงที่ของวัตถุในอวกาศ 
( 3.2 .3/1-2)
มาตรฐาน 4.1
อธิบายเกี่ยวกับแรงดึงดูดของโลกและวัตถุในอวกาศ  ( 4.2 .3/2)


มาตรฐาน  2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการประชาธิปไตย
( 2.2 .3/1)
มาตรฐาน  5.1
รู้และเข้าใจองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ การสร้างการใช้แผนผัง แผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เพื่อหาข้อมูลในพื้นที่รอบตัว
เขียนแผนผังง่ายๆเพื่อแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน
( 5.1 .3/1/2)
มาตรฐาน 5.2
- เข้าใจความสำคัญและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรมและทรัพยากรธรรม
ชาติในชุมชน
( 5.2 .3/1)
- เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 
( 5.2 .3/2)
- เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง
มาตรฐาน  4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์จากอดีตถึงปัจจุบันได้
( 4.2 .3/1)


มาตรฐาน  1.1
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการ อธิบายวิธีการและประโยชน์จากการทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1 .3/2/3)
มาตรฐาน  2.1
มีทักษะกระบวนการทำงานและการจัดการ การทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
( 2.1 .3/2/3)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจ เป็นประโยชน์ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ตรงตามวัตถุประสงค์
( 3.1 .5/1)
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
( 3.1 .5/1/2)


มาตรฐาน 1.1
บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
วาดภาพระบายสีชิ้งานเกี่ยวกับเรื่องลักษณะทางกายภาพของโลกได้( 1.1 .3/2)
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างชิ้นงานได้
( 1.1 .3/4)
วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/1,6)

มาตรฐาน  1.1
 รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างก่ายได้
 ( 1.1 .4/1/2/3)
มาตรฐาน  2.1
อธิบายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและกลุ่มเพื่อน
( 2.1  .3/1/2)
มาตรฐาน  4.1
รู้และเข้าใจการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การป้องกันโรคจากการมองดูดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่า และโรคที่อาจเกิดจากแสงอาทิตย์ 
( 4.1  .6/1)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
แรงและการเคลื่อนที่




















มาตรฐาน 3.2
ทดลองและอธิบายผลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัสดุเมื่อถูกแรงกระทำ หรือทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง ( 3.2 .3/1)
อภิปรายประโยชน์ และอันตรายที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ
( 3.2  .3/2)
มาตรฐาน 4.2 
ทดลองและอธิบาย แรงเสียดทานและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
( 4.2  .6/1)
มาตรฐาน  8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่อง ที่
จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ( 8.1 .3/1)
วางแผน  การสังเกต เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจ ตรวจสอบ( 8.1 .3/2)
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม
ในการสำรวจตรวจสอบ
 และบันทึกข้อมูล
( 8.1 .3/3)
- จัดกลุ่มข้อมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้และนำเสนอผล( 8.1 .3/4)

มาตรฐาน 2.1
สรุปประโยชน์และการปฏิบัติตนตามประเพณีท้อง ความเชื่อเกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาลอย่างเหมาะสม
( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน  2.2
- ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมต่างๆ
- วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการตัดสินใจฝนชั้นเรียน โดยวิธีการออกเสียง หรือเลือกตัวแทน
- ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
( 2.2  .3 /1/2/3)
มาตรฐาน  5.1
ใช้ภาพถ่ายแผนที่แผนผังในการหาข้อมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ในการสำรวจดวงดาวได้เหมาะสม ( 5.1 .3/1)

มาตรฐาน 4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์ นำมาซึ่งการคิดค้นประดิษฐ์และเรียนรู้เกี่ยวกับแรงการเคลื่อนที่ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ( 4.2 .3/1)

มาตรฐาน 1.1
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาดและสามารถอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองได้
อธิบายวิธีการและประโยชน์จากการทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1 .3/2/3)
อธิบายเหตุผลการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย
ปฏิบัติตนอย่า
มีมารยาทในกรทำงาน
ใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัดและมีคุณค่า
( 1.1 .4/1/3/4)
มาตรฐาน  2.1
 มีทักษะกระบวนการทำงานและการจัดการ การทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
( 2.1 .3/2/3)
มาตรฐาน 3.1
บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่ใกล้ตัว ( 3.1 .1/1)
ใช้ความรู้ ภูมิปัญญาของท้องถิ่นนับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ใช้จินตนาการ และความคิดอย่างมีระบบในการออกแบบสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ( 3.1 .3/2)

มาตรฐาน 1.1
บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
วาดภาพระบายสีชิ้นงานเกี่ยวกับเรื่องลักษณะทางกายภาพของโลกได้
( 1.1 .3/2)
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างชิ้นงานได้ ( 1.1 .3/4)
วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/1,6)

มาตรฐาน 1.1
รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างก่ายได้ ( 1.1 .4/1/2/3)
- อธิบายลักษณะการเจริญเติบโตของมนุษย์ที่เชื่อมโยงจากการกำเนิดสิ่งมีชีวิตบนโลก
( 1.1  .3/1)
มาตรฐาน  2.1
อธิบายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและกลุ่มเพื่อน
( 2.1  .3/1/2)
มาตรฐาน 4.1
รู้และเข้าใจการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การป้องกันโรคจากการมองดูดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่า และโรคที่อาจเกิดจากแสงอาทิตย์ 
( 4.1.6/1)
มาตรฐาน  5.1
ปฏิบัติตนเพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากการเดินทางจากบ้าน โรงเรียน
( 5.1 .3/1)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
สรุปองค์ความรู้





















มาตรฐาน  8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่อง ที่
จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ( 8.1 .3/1)
วางแผน  การสังเกต เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจ ตรวจสอบ
( 8.1 .3/2)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม
ในการสำรวจตรวจสอบ
 และบันทึกข้อมูล
( 8.1 .3/3)
- จัดกลุ่มข้อมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้และนำเสนอผล
( 8.1 .3/4)
- แสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนำไปสู่การสร้างความรู้ ( 8.1 .3/6)
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจตรวจสอบตามความเป็นจริงมีแผนภาพประกอบคำอธิบาย
( 8.1 .3/7)
- นำเสนอ จัดแสดงผลงาน
โดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ  ( 8.1 .3/8)
มาตรฐาน 1.1
- ข้าใจความสำคัญ ความแตกต่างด้านความเชื่อของแต่ละภูมิภาคและสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้
( 1.1 .3/1)
- ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตตามข้อคิดจาก เรื่องเล่า ตำนาน ในท้องถิ่นได้ ( 1.1 .3/4)
- สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างภารดรภาพและยอมรับความแตกต่างทางประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาครวมทั้งเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่นได้ ( 5.1 .4/7)
มาตรฐาน 5.1
ใช้แผนที่ แผนผัง  และภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( 5.1 .3/1)
เขียนแผนผังง่ายๆ เพื่อแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน  ( 5.1 .3/2)
บอกความสัมพันธ์ของลักษณะกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน 
( 5.1 .3/1-3)



มาตรฐาน  4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์จากอดีตถึงปัจจุบันได้
( 4.2 .3/1)

มาตรฐาน  1.1
- อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม(1.1 .3/1)
- ใช้วัสดุ  อุปกรณ์  และเครื่องมือ ตรงกับลักษณะงาน ( 1.1 .3/2)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวน การทำงานด้วยความสะอาดความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
( 1.1 .3/3)
มาตรฐาน  2.1
เลือกใช้สิ่งของเครื่อง ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน  4.1
สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวกับอาชีพต่าง ในชุมชน  บอกถึงความแตกต่างและตัดสินใจเลือกอาชีพที่ตนเองชื่นชอบได้ 
( 4.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.1 
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
( 4.1 .3/3)

มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้ 
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/6)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1 /3/6/8)

มาตรฐาน 5.1
วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจ  และสังคม
( 5.1 .3/3)



สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) PBL
Topic : ระบบสุริยะจักรวาล ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2557


สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- พระอาทิตย์มีความร้อนและมีขนาดใหญ่
- ดาวพลูโตมีขนาดเล็ก
- ดาวเสาร์และดาวเนปจูนมีวงแหวน
- รู้ว่าพระอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์
- ดาวยูเรนัสมีดวงจันทร์เป็นบริวาร
- ดาวพลูโตมีขนาดเล็กที่สุดในหมู่ดาวเคราะห์
- โลกเป็นดาวเคราะห์
- ดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
- โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์
-ดาวเนปจูนมีสีฟ้า
-ดาวพลูโตออกนอกระบบสุริยะจักรวาล
-โลกคือดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง
-ดาวยูเรนัสมีดวงจันทร์เป็นบริวาร
-ระบบสุริยะจักรวาลมีดาว 9 ดวง
-โลกมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่
-โลกหมุนรอบตัวเอง
-รู้จักชื่อกลุ่มดาวต่างๆ




- ทำไมพระอาทิตย์ถึงมีแสงและมีความร้อน
- ทำไมดาวเสาร์ถึงมีวงแหวน
- โลกเกิดขึ้นได้อย่างไร
- การกำเนิดของดวงอาทิตย์เกิดขึ้นได้อย่างไร
- ทำไมดาวพลูโตมีขนาดเล็ก
- วงโคจรของดวงดาว
- ปรากฏการณ์ธรรมชาติเกิดขึ้นได้อย่างไร เช่น จันทรุปราคา ฝนดาวตก
- ดาวเคราะห์มีกี่ดวง
- ถ้าหากไม่มีดวงจันทร์โลกจะเป็นอย่างไร
- ทำไมฤดูหนาวพระอาทิตย์ขึ้นช้าพระจันทร์ขึ้นเร็ว
- อยากรู้ชื่อกลุ่มดาวต่างๆ
- ระบบสุริยะจักรวาลเกิดขึ้นได้อย่างไร
- ทำไมต้องมีกล้องส่องดูดาว
- อยากรู้ลักษณะของดวงดาวต่างๆ
- อยากรู้ว่าดวงดาวต่างๆมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่หรือไม่
- ใครขึ้นไปสำรวจดวงจันทร์เป็นคนแรก
- อุกบาตเกิดขึ้นได้อย่างไร